งานวิจัยเรื่อง..ผลของการจัดประสบการณ์เสริมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
คณะผู้วิจัย
คุณสุวิทย์ วรรณศรี
คุณสมบูรณ์ พานิชศิริ
สังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏเพรชบูรณ์
ความมุ่งหมายของการศึกษา
1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน ก่อนและหลังการทดลอง
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ ก่อนและหลังการทดลอง
3.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน กับเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ
ขอบเขตของการวิจัย
1.ประชากร : ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนเมืองเพชรบูรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
2.กลุ่มตัวอย่าง : เป็นเด็กนักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 30 คน แล้วจับฉลากเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน
ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการรับรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้นและการจับต้อง ซึ่งวัดโดยแบบประเมินทักษะการสังเกตที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับ
1.คุณลักษณะของวัตถุ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของวัตถุเกี่ยวกับรูปทรง เสียง รสชาติ กลิ่น และลักษณะพื้นผิว
2.คุณลักษณะของวัตถุ หมายถึง การคะเนหรือประเมินลักษณะของวัตถุสิ่งของเกี่ยวกับขนาดและปริมาณ
3.คุณลักษณะของวัตถุ หมายถึง การเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพที่สามารถเห็นได้อันได้แก่ สี ตำแหน่ง เสียง รสชาติ กลิ่น และรูปร่าง
สุ่มนักเรียน 30 คน โดยวิธีการจับฉลาก กำหนดเป็นกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน ดังนี้
กลุ่มทดลอง : ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน
กลุ่มควบคุม : ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ
1.แผนการจัดประสบการณ์
2.แบบประเมินทักษะการสังเกต : ประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับการสังเกต 3 คำถาม ดังนี้
คำถามที่ 1 ด้านคุณลักษณะ
คำถามที่ 2 ด้านการกะประมาณ
คำถามที่ 3 ด้านการเปลี่ยนแปลง
การดำเนินกิจกรรมในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ใช้เนื้อหาในหน่วยเดียวกันต่างกันที่การจัดกิจกรรมดังนี้
2.กลุ่มตัวอย่าง : เป็นเด็กนักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 30 คน แล้วจับฉลากเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน
นิยามศัพท์เฉพาะ
1.คุณลักษณะของวัตถุ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของวัตถุเกี่ยวกับรูปทรง เสียง รสชาติ กลิ่น และลักษณะพื้นผิว
2.คุณลักษณะของวัตถุ หมายถึง การคะเนหรือประเมินลักษณะของวัตถุสิ่งของเกี่ยวกับขนาดและปริมาณ
3.คุณลักษณะของวัตถุ หมายถึง การเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพที่สามารถเห็นได้อันได้แก่ สี ตำแหน่ง เสียง รสชาติ กลิ่น และรูปร่าง
วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า
กลุ่มทดลอง : ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน
กลุ่มควบคุม : ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
2.แบบประเมินทักษะการสังเกต : ประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับการสังเกต 3 คำถาม ดังนี้
คำถามที่ 1 ด้านคุณลักษณะ
คำถามที่ 2 ด้านการกะประมาณ
คำถามที่ 3 ด้านการเปลี่ยนแปลง
การดำเนินกิจกรรมในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ใช้เนื้อหาในหน่วยเดียวกันต่างกันที่การจัดกิจกรรมดังนี้
นอกชั้นเรียน)
|
แบบปกติ)
|
ครูบอกจุดประสงค์ของการศึกษา ประจำวัน
ขั้นที่ 2 ขั้นกิจกรรม
: ครูพาเด็กออกไปศึกษาในสถานที่ ที่ กำหนดไว้ตามจุดประสงค์
: ครูให้เด็กสังเกตวัตถุหรือเหตุการณ์ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
: ครูถามคำถามเพื่อโยงเกี่ยวกับ ทักษะการสังเกตตามจุดประสงค์ ของแต่ละกิจกรรมในด้าน
- คุณลักษณะ
- การกะประมาณ
- การเปลี่ยนแปลง
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปผล
เป็นขั้นที่เด็กและครูสรุปผลการสังเกตจากกิจกรรม โดยใช้สถานที่ศึกษาหรือใกล้เคียงตามความเหมาะสม
|
ครูใช้กิจกรรมการอธิบาย เล่านิทาน การศึกษานอกสถานที่ การอภิปราย การสาธิต การเล่นเกม และการ ทดลอง ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปผล เด็กและครูร่วมกันสรุปผลการสังเกต จากกิจกรรม |
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
- หาค่าเฉลี่ยของคะแนน
- การเปรียบเทียบความต่างของคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2 กลุ่ม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
แสดงให้เห็นว่า ก่อนการทดลองเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน และเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติมีทักษะการสังเกตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
ข้อสังเกตที่ได้จากการวิจัย
1.เนื่องจากรูปแบบการจัดประสบการณ์นอกชั้นเรียนโดยการให้เด็กได้สัมผัส สังเกตกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อมโดยตรงเด็กยังไม่คุ้นเคย ดังนั้นในระยะแรกๆของการทดลอง เด็กจึงยังไม่ค่อยกล้าลงมือกระทำกิจกรรมนอกเหนือจากที่ครูแนะนำ แต่เมื่อครูใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กคิด ให้เด็กสังเกต พบว่า เด็กกล้าแสดงออก กล้าคิด และมีวิธีการสังเกตนอกเหนือจากที่ครูแนะนำมากขึ้น
2.จากการศึกษาในเด็กกลุ่มทดลอง พบว่า นอกจากเด็กจะมีทักษะการสังเกตมากขึ้นแล้ว ยังพบว่าการจัดประสบการณ์นี้มีส่วนส่งเสริมให้เด็กมีระเบียบวินัย เช่น การเดินแถว มีการให้ความร่วมมือต่อกลุ่มมากขึ้น โดยการใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เช่น แว่นขยาย
Play casino - No.1 for the Casino Guru
ตอบลบNo longer novcasino have the opportunity https://deccasino.com/review/merit-casino/ to go to the casinos or read the reviews of sol.edu.kg the slots you love. But they're not always the same. casino-roll.com Sometimes you have a new online worrione.com